ประเพณีที่สำคัญในตำบลแม่สอด
ประเพณีแลอุปั๊ดตะก่า
ความเป็นมา
ประเพณีแห่ “แล้อุปั๊ดตะก่า” หรือ
“แห่ข้าวพระพุทธ” (แล้อุปั๊ดตะก่า ภาษาไทยใหญ่หมายถึง คณะอุบาสกแห่รับข้าวพระพุทธ) เป็นประเพณีท้องถิ่นของชาวไทยใหญ่ที่นับถือศาสนาพุทธเป็นหลัก
การแห่เป็นพิธีอันศักดิ์สิทธิ์
คนที่เข้าร่วมในขบวนจะต้องเป็นชายที่นุ่งขาวเท่านั้น ห้ามมิให้หญิงเข้าร่วม แต่ก็สามารถเดินร่วมชมตามหลังขบวนได้ การแห่จะเป็นไปอย่างเรียบง่ายตามแบบฉบับที่เคยสืบทอดกันมาแต่ครั้งก่อน
มีสีสันจากขบวนตุงหลากหลายสีเป็นทิวแถว สวยงาม
มีการแสดงศิลปวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์เก่าแก่ของคนไทยใหญ่ คือการ “รำโต” หรือ การรำสิงโตนั่นเอง
ลักษณะคล้ายกับการเชิดสิงโตของชาวจีน ใช้แสดงเฉพาะในเทศกาลที่ยิ่งใหญ่เท่านั้น ทั้งนี้เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ชาวเมือง
โดยบรรพบุรุษชาวไทยใหญ่ถือว่า “โต” เป็นสัตว์ชนิดหนึ่งในป่าหิมพานต์ที่มีรูปร่างคล้ายจามรี
แต่จะมีขนที่ยาวกว่าและมีเขาคล้ายกวาง ถือเป็นสัตว์นำโชค
และจะนำมาซึ่งความรุ่งเรือง โดยจะรำคู่กับการรำกินรีที่จะมีให้เห็นได้เฉพาะตามถิ่นแถวนี้เท่านั้น
คณะอุปั๊ดตะก่าจะ นุ่งชุดขาวรับศีล 5 จากพระภิกษุสงฆ์ จากนั้นออกรับข้าวสาร ขนม ผลไม้ กล้วยอ้อย หรือพืชผลทางการเกษตรจากชาวบ้านและประชาชนทั่วไป เพื่อนำไปจัดเตรียมและหุงต้มในตอนรุ่งอรุณของเช้าวันพระช่วงเข้าพรรษา โดยขบวนแห่จะเริ่มขึ้นที่วัดแม่ซอดน่าด่าน
ก่อนจะแยกเป็นสามสายตามถนนสายหลักกลาง อ.แม่สอด เพื่อคณะศรัทธาจะได้ร่วมทำบุญกันอย่างทั่วถึง
สำหรับของที่รับมาจะนำขึ้นถวายแด่พระพุทธ
ซึ่งเป็นพระประธานในอุโบสถ วิหารและพระประธานบนกุฏิสงฆ์ แล้วนำข้าวของมาแยกออกให้เป็นประเภทเดียวกัน
เพื่อใช้ตามกิจของวัดในตลอดเทศกาลเข้าพรรษา
ซึ่งการแห่รับข้าวพระพุทธนี้จะมีทุกวันโกนตลอดเทศกาลพรรษา 3 เดือน มี 13 ครั้ง แต่ระหว่างช่วงกลางพรรษา ในวันเพ็ญเดือน 10 จะเป็นพิธีถวายข้าวพระพุทธครั้งใหญ่ประจำปี (ภาษาไทยใหญ่เรียกว่า ต่างซอมต่อหลวง)
ซึ่งการแห่รับข้าวพระพุทธนี้จะมีทุกวันโกนตลอดเทศกาลพรรษา 3 เดือน มี 13 ครั้ง แต่ระหว่างช่วงกลางพรรษา ในวันเพ็ญเดือน 10 จะเป็นพิธีถวายข้าวพระพุทธครั้งใหญ่ประจำปี (ภาษาไทยใหญ่เรียกว่า ต่างซอมต่อหลวง)
ประเพณีนี้ยังมีพิธีกรรมที่สืบทอดกันมาแต่ช้านานและถือเป็นพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์โดยผู้เข้าร่วมในขบวนจะต้องเป็นชายที่นุ่งขาวเท่านั้นห้ามมิให้หญิงเข้าร่วมแต่สามารถเดินร่วมตามหลังขบวนได้การแห่จะเป็นไปอย่างเรียบง่ายมีสีสันจากขบวนตุงที่หลากหลายสีเป็นทิวแถวสวยงามและในปีนี้พิธี “แล้อุ๊ปั๊ดตะก่า” จะจัดขึ้น ณ วัดแม่ซอดหน้าด่าน อำเภอแม่สอด
จังหวัดตากมีศิลปวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์อันเก่าแก่ของคนไทยใหญ่คือการ “รำโต” หรือชาวบ้านเรียกว่า “รำกินกะร่า”หรือเรียกว่าการสิงโตนั่นเอง
Particulat Relegious
culure in Mae Sot Sub- Disttrict
Lae U Pud Ta Ka" or
"Buddha Rice offering Parade
"Lae U Pud Ta Ka"
or "Buddha Rice offering Parade" is a local Thai-Shan Buddhism tradition
The parade is a sacred ceremony with
a simple style that had been passed on from the former time. People
participating in the parade must be males wearing only in white. Females are
not allowed participate the parade but they can follow behind.
The colorful of Tungs are using in decorating the parade along with Shan’s cultural and traditional performance called “To dance” or “Lion dance” resembles a Chinese lion dance.” To” is yak/lion like creature with long haired and 2 horns above its head, found throughout the Himapan forest. It is believed to bring good luck and fortune. “To dance” usually performed at important grand occasions. “To” dancing takes place along with the parade featuring the Kinnaree dancing “which can be seen only in Maesot
The U Pad Ta Ka parade will be
dressed in white, received five precepts to be paraded starts from Wat Maesot(
in front of the check point) throughout the street or main road gathering rice,
fruits, and crops from those who willing to make offering. All the offering would be prepared and cooked at the dawn of the morning during the
Buddhist Lent period.
All the offerings made will be presented
to the Buddha, the principle Buddha image in the temple and a Buddhist
monastery. Then the offerings are separated into
the same category according to the religious activities during the Buddhist
lent. This mass gathering in “Wan Kon” the day before full moon during a
period of 3 lunar months rains, and a Buddhist ceremony
called “Tang Som Tor Loung” in Shan language, will be in the middle of
Buddhist Lent in the 10th lunar month is considered as
a large or annual ceremony.
This ceremony was passed down
through the generations and considered as sacred ceremony. This year, it will
be held at Wat Maesot, Maesot province, Tak
ประวัติวัดแม่ซอดหน้าด่าน
(วัดเงี้ยวหลวง)
Mae Sot Na Darn Temple History
(Nyew Laung Temple)
ตำบลแม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก
Mae Sot Sub- District, Mae Sot District, Tak Province
วัดแม่ซอดหน้าด่าน ตั้งอยู่เลขที่ 95 ถนนประสาทวิถี ตำบลแม่สอด
อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก จากคำบอกเล่าของผู้สูงอายุในอดีต
โดยมีเหตุผลและหลักฐานบางอย่างที่ปรากฏพอเชื่อถือและยืนยันได้ดังนี้
Mae Sot Na Darn Temple is
located at address 95 , Prasart Withi Road, Mae
Sot Sub – district, Mae Sot District according to the old generation
people share their experiences and some evidence appear as the following;
นับแต่มีการตั้งหมู่บ้านแม่ซอด (แม่สอด)
ส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อชาติไทยใหญ่
ซึ่งเดินทางมาจากรัฐฉานเพื่อนำสินค้าไปขายในเมืองไทย และที่บ้านแม่ซอดนี้เองจึงเป็นปางที่พักของพวกพ่อค้า
แต่คนไทยใหญ่นั้นอยู่ที่ไหนที่นั่นต้องมีวัด
จึงได้สร้างวัดขึ้นหนึ่งแห่งห่างจากวัดดอนไชยปัจจุบันไปทางทิศตะวันออกประมาณ
300 เมตร
ปัจจุบันยังคงเหลือซากเจดีย์เก่าอยู่บ้าง
และมีพระจากรัฐฉาน ชื่อพระสุมนะเถระเป็นเจ้าอาวาส
ต่อมาเห็นว่าห่างไกลหมู่บ้านมากจึงยุบวัดนำมาสร้างใหม่ ณ ที่ปัจจุบัน
เพราะว่าที่ปัจจุบันเป็นชุมชนคนไทยใหญ่มีมาก
และพระสุมนะเถระก็ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสรูปแรกจนถึงแก่มรณภาพ เมื่อปี พ.ศ. 2432 พระอธิการปิ่นหญ่าปัญโญ
เป็นเจ้าอาวาส ได้ตั้งชื่อว่า วัดหลวง
แต่เนื่องจากท่านไก้เดินทางมาจากรัฐฉานด้วยกัน ๒รูป
คือพระอูเมธาและได้สร้างวัดขั้นอีกวัดหนึ่งและให้พระอูเมธาเป็นเจ้าอาวาส เรียกว่า วัดน้อย (
ปัจจุบันคือบริเวณที่ตั้งโรมแรมพรเทพ )
Majority of the population are Shan People who had their origin from
Shan State and do trading with Thai people. Where ever the Shan people located,
the will have the temple with them. In that time, they had build one temple
which close to Don Chai Temple currently about 300 meters there are remains of
old pagodas there. And there are the Monk from Shan state who is there as the head of temple also this temple is
highly respected by the Shan People.
This formal monk was passed away from almost 124 year ago (Por Sor 2432)
and replaced another two new months from Shan State and they had build 2 temple
which call Wat Luang and Wat Noi (which is the current location of Pon Thep
Hotel)
รถ3ล้อที่ใช้รับของจากอุบาสกเมื่ออุบาสกได้รับของทำบุญจำนวนมาก
Tricycle to carry things for layman
อุปกรณ์ที่ใช้ในขบวนแหล้อุปั๊ดตะก่า
1.สัมพาระ ( คือ
อุปกรณ์ที่ใช้รับของทำบุญ)
2.บาตร
3.
กุ๊บ(คือหมวกสีขาวที่ชาวไทยใหญ่ประดิษฐ์มาจากใบตองแต่ในปัจจุบันจะทำจากไม่เพื่อความอายุการใช้งานที่ยาวนาน)
4.ระฆัง หรือ กังสดาร
5. พระพุทธรูป
6.ฆ้องเดี่ยว
Material & equipment for Lae U Pud Ta Ka Parade
1. Materials for donation
2. Monk’s alms
3. Shan ‘s hat
4. Moon shaped bell
5. Image of Buddha
6. Gong
พิธีรับศีล๕
The
Five Precepts Ritual
โดยผู้ที่มีจิตศรัทธาจะมารับศีลก่อนที่จะออกบิณฑบาตไปตามถนนสายต่างๆรอบอำเภอแม่สอดโดยผู้ที่มารับศีลจะต้องแต่งชุดขาวไม่สวมรองเท้าและจะต้องเป็นชายเท่านั้น
พิธีรับศีลจะมีขึ้นก่อนออกเดินขบวนในเวลา 11.00 แล้วจึงออกบิณฑบาต
The people with their believe they
will come and get blessing before the activities on ask for alms along the road of Mae Sot District and dress on the white
dressing. They will not were shoes and there will be only males.
เสร็จจากพิธีรับศีล
After finished Precept Ritual
เมื่อเสร็จจากพิธีรับศีลบนศาลาแล้วคณะอุบาสกก็จะลงมาตั้งขบวนเพื่อเตรียมตัวออกบิณฑบาตตามถนนสายต่างๆรอบตัวเมืองแม่สอด
After the layman finished the
Precept Ritual, the will conduct the parade to ask for alms along the read
surrounding Mae Sot Town
ตั้งขบวนเพื่อที่จะออกเดินบิณฑบาต
The Parade of ask for alms
โดยคณะอุบาสกจะ ตกลงกันว่าใครจะออกเดินตามถนนสายไหนโดยจะแยกกันไปตามถนน
4สายหลักของอำเภอแม่สอดจากนั้นก็จะเดินกลับมารวมกันที่วัดหลวงหรือวัดแม่ซอกน่าด่านเพื่อนำของที่ผู้คนนำมาทำบุญมาคัดแยกประเภทของของที่ได้มาจากผู้มีจิตรศรัทธาในการทำบุญ
The group of layman will agree
on together as four groups in four
main routs/roads of Mae Sot town than to meet back each other again at
Wat Laung ( laung Temple) or Wat Mae Mae Sot Na Darn (Mae Sot Na Darn Temple)
to organize all of the things that were donated from people
ขบวนแลอุปั้ดตะก่า
Lae U Pud Ta Ka Parade
ขบวน (สาย)
Parade
|
จำนวน (คน)
Number of People
|
เส้นทางการเดินขบวน
Parade route
|
1
|
19
|
แยกตลาดบ้านเหนือ ไป โรงเรียนมณีไพรสณฑ์ และไปโรวเรียนชุมพลคีรี
Ban Nue Fresh Market to Manee Prai Son School to Choompol Kiri
School
|
2
|
20
|
แยกตลาดบ้านเหนือไปวัดอรัญ
Junction of the fresh marker for Ban Nue to Aran Temple
|
3
|
22
|
แยกตลาดบ้านเหนือ ไปหน่วยมาลาเรีย
และสายที่ 3 สามารถแบ่งออกเป็น สายย่อย อีกหนึ่งสายคือ สายที่ 4
Junction of Ban Nue Fresh Market to Malaria Unit and the 3rd
route and 4th route for as the sub - routes
|
4
|
18
|
หน้าโรงพยาบาล ไป หมู่บ้านถุงทอง From the
front of Mae Sot Hospital to Tung Tong Community
|
ที่มา : จากนายปาน มนติ๊บ ประธานชุมชน
Reference: Mr. Pan Montip, Head of
Community
เชื้อชาติของคนที่ร่วมเดินขบวนแล้อุปั๊ดตะก่า
Ethnicity participate at Lae
U Pa Pud Ta Ka Parade
จำนวน
(สาย)
Number of Parade
|
เชื้อชาติ/Ethnicity
|
|||
ไทย/Thai
(คน)(People)
|
พม่า/Burmese
(คน) (People)
|
ไทยใหญ่/Shan
(คน) )(People)
|
กะเหรี่ยง/Karen
(คน) )(People)
|
|
1
|
2
|
6
|
8
|
3
|
2
|
3
|
7
|
9
|
2
|
3
|
3
|
7
|
8
|
4
|
4
|
2
|
8
|
6
|
2
|
ที่มา : จากนายปาน มนติ๊บ ประธานชุมชน
ที่มา : จากนายปาน มนติ๊บ ประธานชุมชน Reference: Mr. Parn Montip, Head of community
ผู้ถือพระนำหน้าขบวน The person who
carry Image of Buddha
ผู้ที่อุ้มพระนำหน้าขบวนจะต้องเป็นผู้ที่อาวุโสที่สุดในวัดและเราสามารถใส่เงินในการทำบุญได้ที่ผู้อาวุโสที่อุ้มพระ
The person who carry the Image of
Buddha should be the most elderly and the people can donate money through this person.
กังสดาล
Moon Shaped bell
กังสดาลและฆ้อง เดี่ยวจะใช้ตีเพื่อให้เกิดเสียงทำให้ผู้ที่อยู่บริเวณนั้นหรือผู้ที่มีจิตศรัทธาที่จะทำบุญรู้ว่าคณะอุปั๊ดตะก่าได้มาถึงบริเวณนั้นแล้ว
The people, they will hit the moon
shaped bell with gong to let the people know that the paraded is coming and
they can donate the thing to them
ฆ้องเดี่ยว
Single Gong
กังสดาลและฆ้องเดี่ยวจะใช้ตีเพื่อให้เกิดเสียงทำให้ผู้ที่อยู่บริเวณนั้นหรือผู้ที่มีจิตศรัทธาที่จะทำบุญรู้ว่าคณะอุปั๊ดตะก่าได้มาถึงบริเวณนั้นแล้ว
The people, they will hit the moon
shaped bell with gong to let the people know that the paraded is coming and
they can donate the thing to them
สัมภาระใส่ผลไม้และดอกไม้
Fruit and Flower luggage
ผู้คนที่มาทำบุญและนำดอกไม้และผลไม้มาทำบุญจะต้องนำผลไม้และดอกไม้มาใส่ที่นี่เพราะจะทำให้สะดวกต่อการคัดแยกประเภทของของที่มาทำบุญ
The people will donate also fruits
and flower. It is also easy for sorting out them
จานไว้ใส่ของแห้ง
Tray for dry food
โดยผู้ที่มาทำบุญจะนำของแห้งใส่ที่นี่ของแห้งที่พูดถึงคือขนมหวาน
เป็นต้นหรือจะเป็นของแห้งอย่างอื่นก็ได้ตามที่ผู้มาทำบุญนำมา
The dry food means, the donators
will also donate some kind of desert according to their available
ถังไว้สำหรับใส่ข้าวสาร
Rice bucket
ผู้ที่นำข้าวสารมาทำบุญก็จะนำข้าวสารมาใส่ในนี้และควรใส่แต่ข้าวสารเพื่ออำนวยความสะดวงในการแยกประเภทของ The rice bucket to keep the rive which were donate by people
approprately
กลับจากการเดินขบวนและนำของที่ได้มาไว้ที่ศาลาหอฉัน After coming back from the parade the donated things will be kept
at Priests'
eating hall
เมื่อคณะอุบาสกเสร็จจากการเดินขบวนแล้วก็จะนำสิ่งของที่ได้มาไว้ที่ศาลาหอฉันจากนั้นกลุ่มผู้มีจิตรศรัทธาก็จะมาช่วยกันแยกประเภทของที่ได้มาจากผู้ที่มาทำบุญ After that , the people will sort out all the donated thing and
reorganize in appropriately
คณะอุบาสิกาหรือผู้ที่มีจิตศรัทธามาร่วมกันคัดแยกประเภทของ
ของที่ได้มา The group of Layman will sort out
the thing and reorganized it
เมื่อคณะอุบาสกนำของที่ได้มาผู้สูงอายุและผู้ที่มีจิตศรัทธาจะมาช่วยกันคัดแยกประเภทของของทำบุญ
คือ จะแยกประเภทของ ผลไม้ ข้าวสาร ดอกไม้ และ เงิน The group of Layman will sort out the thing and reorganized it
which they got from the elderly people. For instance, rice, flowers and money
คณะอุบาสิกาหรือผู้มีจิตศรัทธาร่วมกันคัดแยกข้าวสาร(ข้าวไทยกับข้าวแบบพม่า)และแกะข้าวสารออกจากถุงเพื่อนำไปประกอบอาหารThe layman and relate people help each other to sort out ( Thai
rice & Burmese rice to cook it)
โดยการคัดแยกข้าวจะคัดแยกข้าวไทยกับข้าวพม่าเพราะข้าวไทยกับข้าวพม่ามีความแตกต่างกันคือข้าวไทยจะมีลักษณะเมล็ดเล็กแต่ข้าวของพม่าจะมีลักษณะเม็ดใหญ่ซึ่งเมื่อหุงแล้วจะมีความเหนียวมากกว่าข้าวไทย Because the Thai seed rice is small and the Burmese seed rice is
more bigger and sticker
เหรัญญิกนับเงินที่ได้จากผู้มีจิตศรัทธาที่มาทำบุญ
The treasurer will count the money from donation
ผู้ที่รับหน้าที่เหรัญญิกจะนับเงินทุกบาททุกสตางค์แล้วนำเงินทั้งหมดนั้นมาใช้จ่ายภายในวัดเช่น
นำมาจ่ายค่าซ่อมแซมวัด และ นำมาพัฒนาวัด
เป็นต้น The treasurer will count all the
money that donated and manage them to use for temple maintenance and for other
development activities of the temple
คณะอุบาสกรับประทานอาหารที่ได้จากผู้ที่มีจิตศรัทธาที่มาทำบุญ
The layman will have meal together
from donation
หลังจากการเดินขบวนกันมาเหนื่อยๆแล้วคณะอุบาสกก็จะรับประทานอาหารที่ได้มากันจนอิ่ม
After the layman tied with the
parade activities, they will enjoy the meal together
คณะอุบาสกแยกย้ายกันกลับบ้านของตนหลังรับประทานอาหาร......
All the layman they will be back home
after enjoy the meal together….
เส้นทางที่เดินขบวนมี
4 เส้นทางได้แก่ The four main route
of the parade are;
1.ถนนอินทรคีรี Intarakiri Road
2.ถนนบ้านทุ่ง Ban Tung Road
3.ถนนประสาทวิถี Prasartwiti Road
4.ถนนศรีพาณิช
Sriphanit Road
ผู้ให้คำสัมภาษณ์ Interviewee
โดยทุกๆวันโกนจะมีคณะอุบาสกหรือคณะอุปั๊ดตะก่าซึ่งเป็นผู้มีจิตศรัทธานุ่งชุดขาวรับศีล๕ไม่สวมรองเท้า
พร้องเครื่องหาบหามออกรับ ข้าวสาร ผลไม้ หรือ
พืชพันธุ์ธัญญาหาญของเกษตรกรและชาวบ้านทั่วไป
คณะอุบาสิกาที่รับของอยู่ที่ศาลาวัดก็จะจัดแบ่งแยกของเป็นสัดส่วนและจัดเตรียมให้วสยงามหรือหุงต้มเพื่อถวายพระพุทธในตอนเช้าของวันพระ การแห่รับข้าวพระพุทธจะมีทุกวันโกนตลอดเทศกาลพรรษา ๓ เดือน
รวม ๑๓ครั้ง เมื่อหมดช่วงเข้าพรรษาแล้วก็จะงดการแห่ทันที
Every shaving
day, most of the layman, they will dress with white clothes with- out wearing
shoes and committee on The Five Precepts Ritual than on their
shoulder, they will carry rice, fruit and other agriculture production. For the
other group, they will wait at the temple organize all of the thing
appropriately for offering rice to Buddha in the morning session every three months
of shaving day which will be 13 times in total for until enter to the time of Buddhist
lent period which the parade will be stopped.
ผู้ให้คำสัมภาษณ์
: นาย ปาน
มนติ๊บ
Interviewee: Mr. Parn
Montip
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น